พังงา ซึ่งเป็นจุดดำน้ำที่พบฉลามวาฬบ่อยที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เมื่อ 2 ปีก่อน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ยกให้เป็นหนึ่งในอันซีนไทยแลนด์ โครงการ 1 ไปเรียบร้อยวินิจ บอกว่าเมื่อ4-5 ปีก่อน ที่นี่มีโอกาสพบฉลามวาฬได้มาก แต่ปัจจุบันกลับพบน้อยครั้งลง อาจจะเป็นเพราว่ามีเรือบริการดำน้ำมากขึ้น จึงอาจไปรบกวนการหากินของฉลามวาฬ เพราะมันเป็นปลาที่จะอ้าปากกรองกระแสน้ำและกินแพลงค์ตอนที่มากับน้ำ บวกกับมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่เฝ้าติดตามพฤติกรรมของฉลามวาฬอย่างใกล้ชิด ทำให้มันรู้สึกว่าเป็นการคุกคาม ก็จะยิ่งว่ายน้ำหนีไป “ที่ กองหินใต้น้ำนี้ จัดว่าเป็นที่ๆ มีความหลากหลายมากในจุดๆเดียว ตั้งแต่เล็กสุดถึงใหญ่สุด ลักษณะของหินใต้น้ำคล้ายกับเป็นคอนโดมิเนียมใต้น้ำ ที่จะมีสัตว์น้ำตัวเล็กๆ ชนิดแปลกๆ อยู่ตามซอกมุมของหิน เช่น ปลากบ กุ้งตัวตลก ม้าน้ำ ทากทะเล ปะการังอ่อนหลากสี ปลาสวยงามมากมาย บางครั้งยังอาจจะได้พบกับฝูงปลาสากยักษ์ ปลากะพงขนาดใหญ่จำนวนมาก”
welcome to my blog
วิวัฒน์ สุกิจบรรหาร ม2/2 เลขที่ 33 โรงเนียน เทศบาลป้อมแผลงไฟฟ้า
วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554
สถานที่ดำน้ำ
พังงา ซึ่งเป็นจุดดำน้ำที่พบฉลามวาฬบ่อยที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เมื่อ 2 ปีก่อน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ยกให้เป็นหนึ่งในอันซีนไทยแลนด์ โครงการ 1 ไปเรียบร้อยวินิจ บอกว่าเมื่อ4-5 ปีก่อน ที่นี่มีโอกาสพบฉลามวาฬได้มาก แต่ปัจจุบันกลับพบน้อยครั้งลง อาจจะเป็นเพราว่ามีเรือบริการดำน้ำมากขึ้น จึงอาจไปรบกวนการหากินของฉลามวาฬ เพราะมันเป็นปลาที่จะอ้าปากกรองกระแสน้ำและกินแพลงค์ตอนที่มากับน้ำ บวกกับมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่เฝ้าติดตามพฤติกรรมของฉลามวาฬอย่างใกล้ชิด ทำให้มันรู้สึกว่าเป็นการคุกคาม ก็จะยิ่งว่ายน้ำหนีไป “ที่ กองหินใต้น้ำนี้ จัดว่าเป็นที่ๆ มีความหลากหลายมากในจุดๆเดียว ตั้งแต่เล็กสุดถึงใหญ่สุด ลักษณะของหินใต้น้ำคล้ายกับเป็นคอนโดมิเนียมใต้น้ำ ที่จะมีสัตว์น้ำตัวเล็กๆ ชนิดแปลกๆ อยู่ตามซอกมุมของหิน เช่น ปลากบ กุ้งตัวตลก ม้าน้ำ ทากทะเล ปะการังอ่อนหลากสี ปลาสวยงามมากมาย บางครั้งยังอาจจะได้พบกับฝูงปลาสากยักษ์ ปลากะพงขนาดใหญ่จำนวนมาก”
หุ่นยนต์
หุ่นยนต์เดินตามเส้น
วันก่อนผมเห็นมีงานแข่งหุ่นยนต์ เสียดายมากเลยไม่ได้เข้าร่วมแข่งด้วย รอบนี้ผมเลยเจ็บใจ เลยเอาโปรเจคหุ่นยนต์ตามเส้นอย่างง่ายมาฝากด้วย หุ่นยนต์ในครั้งนี้ดังภาพ จะประกอบไปด้วยมอเตอร์สองตัว แผ่นซีดีเสียอีก 1 แผ่น เซ็นเซอร์แสง 2 ตัว ส่วนมากก้อหาได้ง่าย ก้อทำหุ่นยนต์ได้แล้ว เผื่อรอบหน้าจะมีการแข่ง tune หุ่นอย่างเดียวบ้าง
สำหรับ การทำงานของหุ่นยนต์ตัวนี้ ไม่มีไมโครคอนโทรลเลอร์ครับ ช่วงนี้หาได้ยากแล้วการควบคุม ที่ไม่มีไมโคร ใช้เพียงแค่การเปรียบเทียบแรงดันจากเซ็นเซอร์แสงซ้ายและขวา เพื่อนำไปปรับความเร็วของมอเตอร์เท่านั้น ดูเข้าใจง่ายดี แต่สิ่งที่พิเศษมากกว่าวงจรเปรียบเทียบปกติ ก้อคือ แทนที่จะเป็นแค่รูปแบบ on-off มอเตอร์ แต่เพิ่มสัญญาณสามเหลี่ยมเข้าไปในไอซี comparator ด้วย ดัีงนั้นจึงเป็นการเปรียบเทียบกันแรงดันจากเซ็นเซอร์กับแรงดันจากสัญญาณสามเหลี่ยมครับ จึงทำให้ สัญญาณขาออก เป็น HIGH ถ้าแรงดันจากสัญญาณมากกว่าแรงดันเซ็นเซอร์ และ เป็น LOW ถ้าแรงดันน้อยกว่าเซ็นเซอร์ สัญญาณขาออกออกมาเหมือนเป็นสัญญาณ PWM ดูได้ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างครับ ซึ่งก็กลายเป็นว่าถ้าเซ็นเซอร์แสงโดนเส้นเต็มๆ จะทำให้ความแตกต่างของความเร็วมาก แต่ถ้าโดนน้อยๆ ความแตกต่างของความเร็วก้อจะน้อย เหมือนกับเป็นคอนโทรลเลอร์แบบ analog เลยครับ
จากหลักการทำงานมาดูที่วงจรกันบ้าง สิ่งที่เพิ่มมา เป็น วงจรสร้างสัญญาณสามเหลี่ยม ที่ป้อนเข้า ไอซี comparator ครับ
ผมว่าวงจรมันดูง่ายๆ เหมาะกับเอาไปเรียนรู้การสร้างหุ่นยนต์เดินตามเส้นได้ดีครับ ในสนใจเพิ่มเติมอ่านรายละเอียดได้ที่ เวป ermirco ของ Ronald Besinga ได้เลยครับ เขียนได้ละเอียดมาก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)